ขีดจำกัดสายเลือด รูปแบบใช้ดวงตาเนตรวงแหวนเนตรวงแหวน หรือ เชนรินงัน (ความหมายดวงตาลอกเลียนแบบ) เป็นสายเลือดพิเศษของตระกูลอุจิวะ ว่ากันว่าเนตรนี้มีต้นกำเนิดจากเนตรสีขาวของตระกูลฮิวงะ
จุดกำเนิดในตามนั้น อุจิวะ มาดาระ ยังคงมีชีวิตอยู่หลังจากใช้พลังดวงตามากเกินไปจนตาบอดสนิดได้ทำการควักลูกในตาของน้องชายมาเป็นของตัวเองแทน โดยในเรื่องนั้น อุจิวะ ยังเป็นสมาชิกแสงอุษา และ อาจารย์ของ พี่ชาย ซาซึเกะ
โปรดกลับไปอ่านเรื่องนินจาคาถาโอ้โฮเฮะ เล่มที่ 42 (พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ 22 สิงหาคม 2551)
ลักษณะเฉพาะ ความสามารถเนตรวงแหวนมีความสามารถในการก๊อปปี้จดจำ นินจุตสุ (วิชานินจา),เกนจุตสุ (วิชาภาพลวงตา) และ ไทจุตสุ (การต่อสู้ตัวต่อตัว) ได้อย่างแม่นยำ และ ผู้ใช้สามารถใช้กระบวนท่าและวิชาเดียวกันได้ นอกจากนี้ยังมีความสามารถในการสะกดจิต,มองเห็นภาพลวงตา และ ทำนายการเคลื่อนไหวของคู่ต่อสู้ เนตรวงแหวน
ระดับของเนตรวงแหวน1.เนตรวงแหวนขั้นที่ 1 จะมีจุดลูกน้ำในตา 1 จุด
2.เนตรวงแหวนขั้นที่ 2 จะมีจุดลูกน้ำในตา 2 จุด
3.เนตรวงแหวนขั้นที่ 3 จะมีจุดลูกน้ำในตา 3 จุด
4.เนตรวงแหวนกระจกเงาหมื่นบุบผา เป็นเนตรวงแหวนที่ต้องฆ่าเพื่อนที่รักที่สุด ถ้าใช้เนตรนี้มาก ตาจะบอด
5.เนตรวงแหวนกระจกเงาหมื่นบุบผานิรันคร์ เป็นเนตรขั้นต่อจากเนตรวงแหวนกระจกเงาหมื่นบุบผาจะเบิกได้โดยการ ฆ่าพี่น้องที่มีเนตรวงแหวนเหมือนกัน และ เอามาใส่ในดวงตาของตัวเอง คนๆนั้นจะมีชิวิตอมตะ และ ตาไม่บอดอีกต่อไป
บุคคลที่ใช้เนตรวงแหวนเป็นอาวุธ1. อุจิวะ มาดาระ (เนตรวงแหวนกระจกเงาหมื่นบุปผานิรันดร์)
2. อุจิวะ อิซึนะ (น้องชายของมาดาระ)
3. อุจิวะ อิทาจิ (เนตรวงแหวนกระจกเงาหมื่นบุปผา) จะได้พลังมา 3 อย่างคือ อ่านจันทรา,เทวีสุริยา และ เทพวายุ
4. ฮาตาเกะ คาคาชิ (เนตรวงแหวน) คาคาชิสามารถใช้เนตรวงแหวนกระจกเงาหมื่นบุปผา เพราะเนื่องจากที่ได้มาจากการฝึกฝน ต่างกับของอิทาจิที่ได้มาจากการสังหารเพื่อนสนิท ทำให้พลังที่ได้จึงแตกต่างกัน คือ สามารถย้ายสิ่งต่างๆ ที่ตนเพ่งไปยังมิติอื่นได้ อาทิเช่น แขนของเดอิดาระ มีคนนอกตระกูลเพียงคนเดียวที่ได้รับเนตรวงแหวน มาจากเพื่อนในสมัยเด็กคือหลังจากถูกเชลยสงครามชิงตัวไป ซึ่งเพื่อนของเขาได้มอบเนตรวงแหวนให้คาคาชิก่อนที่จะตาย เพื่อเป็นของขวัญที่คาคาชิสามารถสอบเป็นโจนินได้สำเร็จ
5. อุจิวะ ซาสึเกะ
6.อุจิวะ โอบิโตะ เป็นคนมอบเนตรวงแหวนข้างขวาของตนเองให้กับคาคาชิ
โปรดกลับไปอ่านเรื่องนินจาคาถาโอ้โฮเฮะ